Prin Ibm
โลกาภิวัตน์ (Globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี สังคมและวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก ซึ่งทำให้เกิดกระบวนการที่ประชากรของโลกถูกหลอมรวมกลายเป็นสังค
มเดี่ยว ประกอบด้วย 2 ชนิด คือ Globalization of Markets และGlobalization of Production Globalization of Markets คือ การที่ตลาดในโลกมีความคล้ายคลึงกันมากขึ้น อันเนื่องมาจากความต้องการของคนในโลกมีแนวโน้มที่จะเลียนแบบกัน
และคล้ายกัน ทำให้เกิด Global Products ซึ่งเป็นที่คุ้นเคย และรู้จักกันเป็นอย่างดีหลายยี่ห้อ เช่น ความต้องการในการใช้ยาสีฟันยี่ห้อ Colgate, ความต้องการในการบริโภคอาหาร Fast Food เช่น McDonalds, Subway หรืออาจจะเป็นความต้องการในการบริโภคกาแฟ Starbucks เป็นต้น ทางด้าน Globalization of Production คือ การที่กระบวนการผลิตสินค้าและบริการ มีการกระจายการผลิตส่วนประกอบแต่ละชิ้น ไปตามที่ต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและในเกิดความได้เปรียบในการแข่
งขันมากขึ้น เช่น การที่บริษัท Toyota เข้ามาตั้งฐานการผลิตในประเทศไทยเพราะเป็นประเทศที่มีค่าแรงไม่
สูงมากนัก และคู่ค้าวัตถุดิบสามารถที่จะสนับสนุนวัตถุดิบได้ นอกจากนี้การที่ประเทศไทยอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ได้เปรียบในด้านกา
รกระจายสินค้าไปยังภูมิภาคต่างๆทำให้เหมาะสมกับการส่งออกสินค้า
เนื่องจากโลกในปัจจุบันเทคโนโลยีในการสื่อสารได้พัฒนาก้าวหน้าอ
ย่างมากส่งผลให้เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลกันและสามารถแพร่กระจายข
้อมูลได้อย่างรวดเร็ว จนทำให้เกิดกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทำให้ทุกที่บนโลกเป็นอันหนึ่งอั
นเดียวกันมากขึ้น ดังนั้นการทำธุรกิจในโลกปัจจุบันจึงไม่จำเป็นที่จะจำกัดอยู่แต่
ในประเทศตนเอง ธุรกิจมีโอกาสขยายธุรกิจออกไปยังไประเทศต่างๆมากขึ้นแต่อย่างไร
ก็ตามคู่แข่งก็มีโอกาสทำธุรกิจมากขึ้นเช่นกัน ดังนั้นการทำธุรกิจระหว่างประเทศในโลกปัจจุบันจึงต้องมีความตื่
นตัวกับข้อมูลข่าวสารมากขึ้นและต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับแนวโ
น้มที่เปลี่ยนแปลงไป
CHAPTER 2 CROSS – CULTURAL BUSINESS
วัฒนธรรมของบริษัทข้ามชาติกับวัฒนธรรมของประเทศไทย ในเรื่องของวัฒนธรรมที่แตกต่างกันระหว่างประเทศไทยและประเทศอัง
กฤษ ซึ่งโดยพื้นฐานแล้วประเทศไทยนั้นมีค่านิยม ลักษณะการดำรงชีวิตหรือวิถีชีวิต ทัศนคติที่ค่อนข้างแตกต่างจากอังกฤษ เช่น การให้ความสำคัญกับการทำงาน ความเคร่งครัด ความตรงต่อเวลา ช่วงแรกเริ่มของการดำเนินงานในประเทศไทย บริษัทค่อนข้างมีปัญหาในเรื่องของวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน เพราะลักษณะของบุคคลนั้นแตกต่างกันตามที่ได้กล่าวข้างต้น แต่อย่างไรก็ตามทางบริษัท International S.O.S ก็ได้เรียนรู้และพยายามปรับตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมและวัฒนธร
รมของประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง การวิเคราห์ตามทฤษฎี Hofstede Framework
ทฤษฎี Hofstede Framework คือ งานศึกษาของ Geert Hofstede ชิ้นหนึ่ง ทำขึ้นในทศวรรษที่1970s เป็นงานที่มีคนจำนวนมากนิยมนำไปอ้างถึง โดย Hofstede ได้ทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างมาจากพนักงาน 116,000 คน ของบริษัท IBM ทั้งสิ้น 40 ประเทศ เพื่อสำรวจค่านิยมที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของคนต่างชาติต่างภา
ษากัน ผลจากการศึกษา เขาพบว่า บรรดาผู้จัดการ และพนักงานทั้งหลายล้วนมีค่านิยมต่างๆกันไปตามมิติของลักษณะนิส
ัยในแต่ละชาติ ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 มิติ ดังนี้ 1. Individualism versus Collectivism (ความเป็นส่วนตัว/เป็นกลุ่ม): มิติหนึ่งของวัฒนธรรมองค์กร เป็นลักษณะวัฒนธรรมที่นิยมความเป็นส่วนตัว ชอบทำงานคนเดียว ยึดถือเป้าหมายของตนเองเหนือเป้าหมายของกลุ่ม หรือ เป็นลักษณะวัฒนธรรมที่นิยมความเป็นกลุ่ม ยึดถือความสนใจของกลุ่มเป็นหลัก แม้ว่าจะไม่ถูกใจตนเองก็ตาม
2. Power Distance (ระยะของอำนาจ): เป็นลักษณะของดัชนีความเหลื่อมล้ำในอำนาจของประเทศในเอเชีย, ยุโรป และอเมริกา ซึ่งก็จะมีความแตกต่างกันออกไป แม้แต่ในประเทศเดียวกันก็ตาม ในองค์กรที่แตกต่างกันก็จะมีตัวเลขของดัชนีที่ต่างกันไปด้วย ถ้าจะกล่าวให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นก็จะหมายถึง อัตราการยอมรับในตัวผู้บังคับบัญชา เป็นการแสดงถึงความสัมพันธ์ของคน หากมีตัวเลขที่สูงแสดงว่า วัฒนธรรมนั้นผู้นำ มีอำนาจมาก การตัดสินใจอาจจะอยู่ที่ผู้นำแต่เพียงผู้เดียว ผู้ที่อยู่ใต้บังคับบัญชาก็เพียงแต่ปฏิบัติตามคำสั่งเท่านั้น สายการบังคับบัญชายาว ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือระบบทหารหรือระบบราชการ ในทางตรงกันข้าม หากมีตัวเลขของดัชนีต่ำ จะหมายถึง...
Please join StudyMode to read the full document